แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทย
ภาคเรียนที่ ๑ Quarter ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ชั้นประถมศึกษาปีที่
๕
สัปดาห์ที่ ๕ วันที่
๘ – ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๘ เวลาเรียน ๔
คาบ (๑ ชั่วโมง / คาบ)
หน่วยการเรียนรู้
: เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น
.........................................................................................................................................................................................
หน่วยการเรียนรู้รายสัปดาห์ : เรื่อง ชาวไร่เบี้ย
สาระสำคัญ
:
การทำความดีเพื่อหวังผลประโยชน์จากผู้อื่น
ซึ่งให้ได้มาซึ่งทรัพย์ อำนาจ บารมี โดยวิธีการที่ไม่สุจริต การกดขี่บุคคลที่มีอำนาจน้อยกว่าในจนมุม ดั่งสุภาษิตไทยที่ว่า "ทำนาบนหลังคน"
Big Question :
นักเรียนอยากเติบโตเป็นผู้ใหญ่อย่างไร
เป้าหมายย่อย
: นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้
เข้าใจและ จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน
อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทในการพูดและฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน
สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้ อีกทั้งอ่านและเขียนอักษรนำได้ถูกต้อง รู้จักคำเป็น คำตายและสามารถนำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์รู้จักคำนาม คำสรรพนามและคำกริยา
และสามารถนำมาแต่งประโยคได้ มีมารยาทในการพูดและฟัง
Day
(วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
จันทร์
|
โจทย์
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากการอ่านเรื่องสั้น คำถาม: - ถ้านักเรียนเป็นตัวละครในเรื่อง นักเรียนจะแก้ไขปัญหาอย่างไร เพราะเหตุใด?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share คำศัพท์ใหม่ที่ได้จากการอ่านนิทาน - Key Questions คำถามกระตุ้นคิดเกี่ยวกับเรื่องสั้นที่อ่าน - Show and Share ออกแบบฉากในเรื่องสั้น - Wall Thinking ผลงานออกแบบฉากในเรื่องสั้น
-พฤติกรรมสมอง
จากการอ่านเรื่องสั้น และสรุปเรื่องสั้นที่อ่าน
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
-
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น” เรื่อง ชาวไร่เบี้ย
|
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนทักทายและสนทนาเกี่ยวกับเรื่องราวในเรื่องสั้นที่เคยอ่านมา
ขั้นสอน
ชง:
นักเรียนอ่านเรื่องโดยการอ่านออกเสียง
(อ่านคนเดียว/อ่านต่อเนื่องพร้อมกัน และอ่านทีละคน)
เชื่อม:
ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านโดยให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
ดังนี้
จำ : ให้นักเรียนเรียงลำดับเหตุการณ์ของเรื่อง,บอกชื่อตัวละคร,ฉาก
เข้าใจ
: นักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อเรื่องหรือข้อคิดที่ได้จากเรื่อง
วิเคราะห์/สังเคราะห์:
นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์/สังเคราะห์เหตุการณ์
ลักษณะนิสัยของตัวละครแต่ละตัว ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น
นำไปใช้
: นักเรียนช่วยกันสรุปเหตุการณ์เทียบเคียงกับชีวิตจริงนักเรียนจะสามารถนำไปปรับใช้กับตนเองอย่างไร
ประเมินค่า:นักเรียนคิดว่า
การกระทำของตัวละครเหมาะสมหรือไม่ เหตุการณ์ต่อไปจะเป็นอย่างไร
สร้างสรรค์
: ให้นักเรียนเขียนสรุปเรื่องลำดับเหตุการณ์ของเรื่องโดยออกแบบภาพประกอบและให้คำนิยามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านในแง่มุมใหม่ต่างจากเรื่องที่อ่าน
ใช้:
นักเรียนออกแบบฉากในเรื่องสั้นที่ชอบ
และเขียนสรุปเหตุการณ์ตอนจบใหม่
ขั้นสรุป
นักเรียนนำเสนอผลงานของตนเอง ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องที่เรียนในวันนี้
|
ชิ้นงาน
ออกแบบฉากจากเรื่องตามจินตนาการ
ภาระงาน
อ่านนิทาน
และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านและสิ่งที่จะนำไปปรับใช้
|
ความรู้
- คำศัพท์ใหม่ในเรื่องที่อ่าน
-วิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่แตกต่างหลากหลาย
ทักษะ
- คิดสร้างสรรค์ภาพประกอบผลงาน แง่มุมใหม่ที่ได้จาการอ่าน - ทักษะการสื่อสารกับผู้อื่น
- ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น
- ทักษะการอ่านออกเสียง
การอ่านในใจ
-ทักษะการเขียนสรุปองค์ความรู้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เป็นนักอ่าน รักการอ่าน
|
Day
(วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
อังคาร
|
โจทย์
การจำแนก การอ่าน การเขียนและการใช้ ชนิดคำนาม คำถาม: นักเรียนจะสังเกตและจำแนกคำนามอย่างไร และคำนามมีหน้าที่อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share คำศัพท์ใหม่ที่ได้จากการอ่านเรื่อสั้น และคำนาม - Key Questions คำถามกระตุ้นคิดเกี่ยวกับการจำแนกและหน้าที่ของคำนาม - Show and Share การแต่งเรื่องจากคำนาม
- Round Table สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการจำแนกและหน้าที่ของคำนามและการนำไปใช้
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
- บัตรคำ
-
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น” เรื่อง ชาวไร่เบี้ย
|
ขั้นนำ
ครูนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา
เพื่อทบทวนเนื้อหาและเรื่องราวของเรื่องที่อ่าน
ขั้นสอน
ชง:
- ครูติดบัตรคำคำนามบนกระดานนักเรียนอ่านคำบนกระดานพร้อมๆกัน
ครูถามคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร”
นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์และสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- ครูเขียนตัวอย่างประโยคบนกระดาน
และถามคำถามกระตุ้นการคิด “ในประโยคนี้ คำใดบ้างที่ทำหน้าที่เป็นคำนาม?”
เชื่อม:
-
ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับประโยคบนกระดานที่ปรากฏคำนามอยู่
รวมทั้งการนำไปใช้ผ่านคำถามกระตุ้นคิด นักเรียนจะนำไปใช้ได้อย่างไรบ้าง
-
นักเรียนช่วยกันเสนอแนะเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง ความหมายของคำศัพท์
และการนำคำศัพท์ไปใช้ พร้อมทั้งช่วยกันเสนอแนะคำศัพท์เพิ่มเติม
ใช้:
นักเรียนนำคำศัพท์ไปใช้ในการแต่งนิทานตามจินตนาการ
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนสรุปเกี่ยวกับคำนาม
และสิ่งที่ได้เรียนรู้ในวันนี้ พร้อมทั้งเสนอแนะเกี่ยวกับการนำไปใช้เพิ่มเติม
การบ้าน แต่งเรื่องจากคำนาม ๑ หน้ากระดาษ A4
|
ชิ้นงาน
เขียนแต่งเรื่องใหม่จากคำศัพท์ในเรื่องที่อ่าน
(คำนาม)
ภาระงาน
วิเคราะห์และสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
เกี่ยวกับการอ่านคำที่มีอักษรนำ รวมทั้งการนำไปใช้
|
ความรู้
คำศัพท์ใหม่ในเรื่องที่อ่าน การอ่าน การเขียนการจำแนกและการใช้คำนาม
ทักษะ
- คิดสร้างสรรค์ภาพประกอบผลงานแผนภาพโครงเรื่อง แง่มุมใหม่ที่ได้จากการอ่าน - ทักษะการสื่อสารกับผู้อื่น การนำเสนอ - ทักษะการทำงานเป็นทีม
-
ทักษะการเขียนแต่งเรื่องตามจินตนาการ
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
-เป็นนักอ่าน
รักการอ่าน
-มีความคิดสร้างสรรค์
|
Day
(วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
พุธ
|
โจทย์
การจำแนก การอ่าน การเขียนและการใช้ ชนิดคำสรรพนาม คำถาม: นักเรียนจะสังเกตและจำแนกประเภทของคำสรรพนามและมีหน้าที่อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share คำศัพท์ใหม่ที่ได้จากการอ่านเรื่อสั้น และคำสรรพนาม - Key Questions คำถามกระตุ้นคิดเกี่ยวกับการจำแนกและหน้าที่ของคำสรรพนาม - Show and Share การแต่งประโยคจากคำสรรพนาม
- Round Table สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการจำแนกและหน้าที่ของคำสรรพนามและการนำไปใช้
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
- บัตรคำ
-
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น” เรื่อง ชาวไร่เบี้ย
|
ขั้นนำ
ครูนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับเรื่องคำนามเมื่อวันอังคารที่ผ่านมา
เพื่อทบทวนเรื่องที่เรียนผ่านไป
ขั้นสอน
ชง:
- ครูแจกบัตรคำคำสรรพนามให้นักเรียน นักเรียนอ่านคำสรรพนามที่ตนเองได้ที่ละคนให้เพื่อนฟัง
ครูถามคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร”
นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์และสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- ครูเขียนตารางบนกระดาน แบ่งเป็นคำนามบุรุษที่
๑, ๒ และ๓
เชื่อม:
- นักเรียนนำบัตรคำของตนเองไปติดบนกระดานที่ละคน
ให้สัมพันธ์กับช่องตารางที่แบ่งคำสรรพนามแต่ละบุรุษไว้
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับคำสรรพนามบนกระดาน
รวมทั้งการนำไปใช้ผ่านคำถามกระตุ้นคิด นักเรียนจะนำไปใช้ได้อย่างไรบ้าง
-
นักเรียนช่วยกันเสนอแนะเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง ความหมายของคำศัพท์
และการนำคำศัพท์ไปใช้ พร้อมทั้งช่วยกันเสนอแนะคำศัพท์เพิ่มเติม
ใช้:
นักเรียนนำคำสรรพนามไปแต่งประโยคตามจินตนาการ
๑๐ ประโยค
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนสรุปเกี่ยวกับคำสรรพนาม
และสิ่งที่ได้เรียนรู้ในวันนี้ พร้อมทั้งเสนอแนะเกี่ยวกับการนำไปใช้เพิ่มเติม
|
ชิ้นงาน
เขียนแต่งประโยคโดยให้คำสรรพ-นาม
ภาระงาน
วิเคราะห์และสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
เกี่ยวกับการอ่านคำ สรรพนาม รวมทั้งการนำไปใช้
|
ความรู้
คำศัพท์ใหม่ในเรื่องที่อ่าน การอ่าน การเขียนการจำแนกและการใช้คำสรรพนาม
ทักษะ
- คิดสร้างสรรค์การแต่งประโยคโดยใช้คำสรรพนามให้ตรงตามการใช้งานในแต่ละบุรุษ - ทักษะการสื่อสารกับผู้อื่น การนำเสนอ - ทักษะการทำงานเป็นทีม
-
ทักษะการเขียนแต่งเรื่องตามจินตนาการ
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
-
เป็นนักอ่าน รักการอ่าน
-
มีความคิดสร้างสรรค์
|
Day
(วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
พฤหัสบดี
|
โจทย์
การจำแนก การอ่าน การเขียนและการใช้คำกริยา คำถาม: นักเรียนจะสังเกตและจำแนกกริยาอย่างไร และคำกริยามีหน้าที่อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share คำศัพท์ใหม่ที่ได้จากการอ่านเรื่อสั้น และคำกริยา - Key Questions คำถามกระตุ้นคิดเกี่ยวกับการจำแนกและหน้าที่ของคำกริยา - Show and Share การแต่งเรื่องใหม่
- Round Table สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการจำแนกและหน้าที่ของคำนาม
คำสรรพนาม คำกริยาและการนำไปใช้
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
- บัตรคำ
-
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น” เรื่อง ชาวไร่เบี้ย
|
ขั้นนำ
ครูนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับเรื่องคำสรรพนามเมื่อวันพุธที่ผ่านมา
เพื่อทบทวนเรื่องที่เรียนผ่านไป
ขั้นสอน
ชง:
- ครูแจกบัตรคำที่มีความหลากหลายมากขึ้น
(มีทั้งคำนาม คำสรรพนาม และคำกริยา) ให้นักเรียน นักเรียนอ่านคำที่ตนเองได้ที่ละคนให้เพื่อนฟัง
ครูถามคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร”
นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์และสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- ครูเขียนตารางบนกระดาน แบ่งเป็นคำนาม
คำสรรพนาม และคำกริยา
เชื่อม:
- นักเรียนนำบัตรคำของตนเองไปติดบนกระดานที่ละคน
ให้สัมพันธ์กับช่องตารางที่ครูเขียนไว้บนกระดาน
-
ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับคำกริยาบนกระดาน
รวมทั้งการนำไปใช้ผ่านคำถามกระตุ้นคิด นักเรียนจะนำไปใช้ได้อย่างไรบ้าง
-
นักเรียนช่วยกันเสนอแนะเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง ความหมายของคำศัพท์
และการนำคำศัพท์ไปใช้ พร้อมทั้งช่วยกันเสนอแนะคำศัพท์เพิ่มเติม
ใช้:
นักเรียนนำคำศัพท์จากคำนาม
คำสรรพนาม และคำสรรพนาม ที่ได้เรียนผ่านมาแต่งเป็นนิทานตามจินตนาการ
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนสรุปเกี่ยวกับคำสรรพนาม และสิ่งที่ได้เรียนรู้ในวันนี้ พร้อมทั้งเสนอแนะเกี่ยวกับการนำไปใช้เพิ่มเติม
|
ชิ้นงาน
เขียนแต่งเรื่องอย่างสร้างสรรค์
ภาระงาน
วิเคราะห์และสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
เกี่ยวกับชนิดของคำ รวมทั้งการนำไปใช้
|
ความรู้
คำศัพท์ใหม่ในเรื่องที่อ่าน การอ่าน การเขียนการจำแนกและการใช้คำสรรพนาม
ทักษะ
- คิดสร้างสรรค์เรื่อง/นิทาน - ทักษะการสื่อสารกับผู้อื่น การนำเสนอ - ทักษะการทำงานเป็นทีม
-
ทักษะการเขียนแต่งเรื่องตามจินตนาการ
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
-
เป็นนักอ่าน รักการอ่าน
-
มีความคิดสร้างสรรค์
|
|
|
|
| |
พ
|
|
|
|
|
บันทึกการสอน :
ตอบลบสัปดาห์นี้ครูให้นักเรียนอ่านเรื่องใหม่ คือ เรื่องชาวไร่เบี้ย ส่วนเรื่องหลักภาษาเรียนชนิดของคำ ซึ่งในสัปดาห์นี้ครูให้นักเรียนเรียน 3 ชนิดก่อน คือ คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา ก่อนเป็นเบื้องต้น แล้วให้นักเรียนออกแบบฉากตามเนื้อเรื่องที่ได้อ่านไป
ปัญหาที่พบในห้องเรียน ยังพบนักเรียนคนที่อ่านช้า (ไม่มั่นใจในการอ่าน) เช่น พี่หยี และไม่รู้จักชนิดของคำ ครูจึงได้ให้การบ้านเสริมและได้ให้เรียนเพิ่มเติมเป็นการส่วนตัว (เพราะพื้นฐานเขาเรื่องของชนิดของคำไม่มีเลย) ส่วนคนอื่นๆ ก็ไม่น่าเป็นห่วงก็ตามพัฒนาการของช่วงวัย
หมายเหตุ* ในวันพฤหัสบดี (ช่วงเช้า) ครูผู้สอนได้ลา จึงได้ฝากครูพี่ที่อยู่ด้วย และได้ฝากใบงานให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าและทำชิ้นงานในชั่วโมงภาษาไทย