ชั้นประถมศึกษาปีที่
๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๘
Quarter
1
|
Quarter
2
|
Quarter
3
|
Quarter
4
|
สาระ/หลักภาษา
|
สาระ/หลักภาษา
|
สาระ/หลักภาษา
|
สาระ/หลักภาษา
|
-คาดเดาเรื่อง
-มาตราตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตราเช่น แม่กก กน เกย เกอว
กด กบ กน
-อักษรนำ
-คำประวิสรรชนีย์และไม่วิสรรชนีย์
-คำควบกล้ำ ร ล ว อักษรตาม
-ตัวการันต์
-ตัว รร หัน
-การใช้ บรร,บัน,ฤ,ฤา
-คำพ้องรุป คำพ้องเสียง
-การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง/นิทานช่อง
-สุภาษิต คำพังเพย สำนวนไทย
-ชนิดของคำ(คำนาม สรรพนาม ลักษณะนาม คำกริยา คำบุพบท คำอุทาน
คำวิเศษณ์ คำสันธาน )
|
-คาดเดาเรื่อง
-คำขวัญ คติพจน์
-กลุ่มคำ
-ชนิดของประโยค
-การเขียนเรียงความ
-อักษรย่อ
-การพูดในโอกาสต่างๆ
-การเขียนย่อความ
-ภาษาต่างประเทศที่พบในภาษาไทย
-ภาษาถิ่น
-การเขียนบันทึกความรู้
-การแต่งนิทาน การเขียนตามจินตนาการ
-การพูดจูงใจ การพูดแสดงความคิดเห็น
-การจดบันทึกการประชุม
-การเขียนบัตรเชิญและบัตรอวยพร
-การเขียนรายงาน
-การเขียนสรุปเรื่อง
-การเขียนการ์ตูนช่อง/แผนภาพโครงเรื่อง
|
-คาดเดาเรื่อง
-การเขียนบันทึกความรู้
-การเลือกอ่านหนังสือ
-การเขียนจดหมายลาครูเพื่อน หรือญาติผู้ใหญ่
-เครื่องหมายวรรคตอน
-การเขียนเชิงสร้างสรรค์
-การใช้ตัวเลขไทย
-การโต้วาที
-การใช้พจนานุกรม
-คำที่มันเขียนผิด
-คำคล้องจอง
-การอ่านประกาศและโฆษณา
-การใช้ห้องสมุด
-การคัดลายมือ
-ปริศนาคำทาย บทร้องเล่น
-การเขียนเพื่อการสื่อสาร
-การเลือกอ่านหนังสือที่มีประโยชน์
-การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง/นิทานช่อง
|
-คาดเดาเรื่อง
-คำราชาศัพท์ คำสุภาพ
-บทร้อยกรอง
-โคลงสี่สุภาพ กลอนหก กลอนแปด
-กาพย์ยานี ๑๑
-วิชชุมมาลาฉันท์ 8
-บทความ
-คำตรงกันข้าว
-การเล่านิทานและตำนาน
-การอ่านแผนที่
-การแต่งเรื่องสั้น
-การแสดงละคร
-สารคดี บทความ
-การอ่านแผนภูมิและกราฟ
-การเขียนอัตชีวประวัติ
-ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน
-การเขียนสรุปเรื่อง
-การเขียนการ์ตูนช่อง/แผนภาพโครงเรื่อง
|
วรรณกรรมเรื่องสั้น
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
1. เขียดขาคำ
2. ฟ้าโปรด
3. ชาวไร่เบี้ย
4. กระดานไฟ
5. อีกไม่นานเธอจะรู้
6. ชาวนากับนายห้าง
|
วรรณกรรมเยาวชน
1. อธิษฐานสิจ๊ะกับนางฟ้าสีเขียว
|
วรรณกรรมคดีไทย
1. นิทานเวตาล
|
วรรณกรรมต่างประเทศ
1. ไม้หลา ปริศนาแห่งม้าตัวหนึ่ง
|
เวลาเรียน ๑๑ สัปดาห์ (๔๔ ชั่วโมง)
|
เวลาเรียน ๑๐ สัปดาห์ (๓๐ ชั่วโมง)
|
เวลาเรียน ๙ สัปดาห์ (๒๗ ชั่วโมง)
|
เวลาเรียน ๑๑ สัปดาห์ (๓๓ ชั่วโมง)
|
ขอบข่ายเนื้อหาการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๘
หน่วยการเรียนรู้
|
หนังสือ/ตอน
|
สาระเนื้อหา(เรื่องย่อ)
|
หลักภาษา
|
Quarter 1
|
1. เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
ผู้เขียน : ลาว คำหอม
|
การคาดเดาเรื่องโดยการดูจากหน้าปกหนังสือที่จะเรียน
|
ทบทวนความรู้
|
2. เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
ผู้เขียน : ลาว คำหอม
|
การคาดเดาเรื่องโดยการดูจากหน้าปกหนังสือที่จะเรียน และทบทวนความรู้เดิม
|
- การคาดเดาเรื่อง
- ทบทวนความรู้
|
|
3. เรื่อง เขียดขาคำ
|
วิถีชีวิตของสังคมชนบทอีสาน อาหาร วัฒนธรรม
พร้อมๆกับการต้องพึ่งพาสังคมภายนอกที่เป็นตัวแทนของรัฐบาล ปากท้องเป็นเรื่องสำคัญของครอบครัว
|
ตัวสะกดที่ตรง
มาตราแม่กง กม เกย และเกอว
|
|
4. เรื่อง เขียดขาคำ
|
วิถีชีวิตของสังคมชนบทอีสาน อาหาร วัฒนธรรม พร้อมๆกับการต้องพึ่งพาสังคมภายนอกที่เป็นตัวแทนของรัฐบาล ปากท้องเป็นเรื่องสำคัญของครอบครัว
|
คำที่มีมาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตรา
แม่ กด กบ กนและกก
|
|
5. เรื่อง ชาวไร่เบี้ย
|
การทำความดีเพื่อหวังผลประโยชน์จากผู้อื่น
ซึ่งให้ได้มาซึ่งทรัพย์ อำนาจ บารมี โดยวิธีการที่ไม่สุจริต
การกดขี่บุคคลที่มีอำนาจน้อยกว่าในจนมุม ดั่งสุภาษิตไทยที่ว่า
"ทำนาบนหลังคน"
|
ชนิดของคำ
- คำนาม
- คำสรรพนาม
- คำกริยา
|
|
6. เรื่อง ชาวไร่เบี้ย
|
การทำความดีเพื่อหวังผลประโยชน์จากผู้อื่น
ซึ่งให้ได้มาซึ่งทรัพย์ อำนาจ บารมี โดยวิธีการที่ไม่สุจริต
การกดขี่บุคคลที่มีอำนาจน้อยกว่าในจนมุม ดั่งสุภาษิตไทยที่ว่า
"ทำนาบนหลังคน"
|
- คำเป็นคำตาย
- อักษรนำ
- คำลักษณะนาม
- คำประวิสรรชนีย์
-
คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
- คำควบกล้ำ
(คำควบกล้ำแท้และคำควบกล้ำไม่แท้)
|
|
7. ชาวนากับนายห้าง
|
ละครเนื้อหาเกี่ยวข้องกับหลักภาษาและวรรณกรรม
(ที่เรียนผ่านมา)
|
||
8. เรื่อง กระดานไฟ
|
มนุษย์เราต่างมีความคิด
ทัศนคติ ความเชื่อที่หลากหลายแตกต่างกันไป บางสิ่งอาจจะล้าหลังเมื่อพบสิ่งใหม่ การยอมรับและการปรับตัวทางด้านทัศนคติจึงเป็นสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันภายในสังคม
|
ชนิดของคำ
- คำวิเศษณ์
- คำบุพบท
- คำสันธาน
-
คำอุทานฯลฯ
|
|
9. เรื่อง ฟ้าโปรด
|
ธรรมชาติสร้างและแบ่งปันอาหาร
วิถีชีวิต การดำเนินชีวิต ความอยู่รอดให้กับมนุษย์ มิตรภาพ ความมีน้ำใจและการแบ่งปัน
จะยังคงรักษาสัมพันธภาพที่ดีไว้ได้
|
- การแต่งกลอนแปด
-สุภาษิต คำพังเพย
สำนวนไทย
-คำพ้องรูป
-คำพ้องเสียง
|
|
|
10 เรื่อง อีกไม่นานเธอจะรู้
|
สังคมและการเปลี่ยนแปลงที่คนในชนบทไม่สามารถกำหนดให้เป็นไปได้
การเข้ามาของนายทุนจากภายนอกพื้นที่ การถูกเปลี่ยนมือของเจ้าของที่ดิน
การขาดซึ่งอำนาจในการต่อรองกับอำนาจมืดของคนเพียงไม่กี่กลุ่ม
สะท้อนสังคมอีสานยุคของการเปลี่ยนแปลงกำลังเข้ามาเยือน
|
- คำสมาส
- คำสนธิ
- การใช้สัญลักษณ์/เครื่องหมายในภาษาไทย
|
11 สรุปองค์ความรู้
|
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านเรื่องสั้นและการเรียนรู้เรื่องหลักภาษาไทยตลอด
Quarter
|
สิ่งที่จะนำไปปรับใช้
|
เค้าโครงการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ Quarter 1
หน่วยการเรียนเรื่อง
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๑
(๑๔
พ.ค.๒๕๕๘)
|
หน่วยการเรียนรู้
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
หลักภาษาไทย
ทบทวนความรู้
|
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๒เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน
และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๙มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วน ประกอบของประโยค
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
สามารถคาดเดาหรือคาดคะเนเหตุการณ์ได้อย่างมีเหตุผล บอกเล่า
อธิบายให้คนอื่นฟังได้ อ่านคำและเรื่องราวได้ จับใจความสำคัญและถ่ายทอดด้วยการเล่า
เขียน บันทึก ให้คนอื่นรับทราบได้มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาท ในการพูดและฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่านได้
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๒
(๑๘-๒๑ พ.ค.๒๕๕๘)
|
หน่วยการเรียนรู้
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
หลักภาษาไทย
- ทบทวนความรู้
- การคาดเดาเรื่อง
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๑คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน
และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและการพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
นักเรียนสามารถสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน
เพื่อสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง สามารถเขียนบันทึกและอธิบายข้อดีของการเขียนบันทึกได้
มีนิสัย รักการอ่านและการเขียนนักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวและจับใจความสำคัญของเรื่องโดยสามารถถ่ายทอดด้วยการเล่า
การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการพูดและการฟัง
ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน
สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้ อีกทั้งสามารถพูดแสดงความคิดเห็นเรื่องที่ศึกษาได้อย่างสร้างสรรค์
สามารถพิจารณาคุณค่าของวรรณกรรมได้
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๓
(๒๕-๒๘
พ.ค. ๒๕๕๘)
|
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
เรื่อง เขียดขาคำ
หลักภาษาไทย
-
ตัวสะกดที่ตรง มาตราแม่กง กม เกย และเกอว
- คำที่มีมาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตราแม่
กด กบ กนและกก
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๑คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน
และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและการพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้
เข้าใจและจับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน
อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทในการพูดและฟัง
ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน
สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้
สามารถอ่านและเขียนตัวสะกดที่ตรง
มาตราแม่กง กม เกย และเกอว คำที่มีมาตราตัว
สะกดไม่ตรงมาตรา แม่
กด กบ กนและกกได้ และสามารถนำมาแต่งประโยคได้ มีมารยาทในการพูดและฟัง
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๔
(๑-๔ มิ.ย.๒๕๕๘)
|
หน่วยการเรียนรู้
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
เรื่อง เขียดขาคำ
หลักภาษาไทย
-
ตัวสะกดที่ตรง มาตราแม่กง กม เกย และเกอว
-
คำที่มีมาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตราแม่ กด กบ กนและกก
(ต่อจากสัปดาห์ที่๓)
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๑คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน
และเหมาะสม
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและการพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้
เข้าใจและจับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน
อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทในการพูดและฟัง
ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน
สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้
สามารถอ่านและเขียนตัวสะกดที่ตรง
มาตราแม่กง กม เกย และเกอว คำที่มีมาตราตัว
สะกดไม่ตรงมาตรา แม่
กด กบ กนและกกได้ และสามารถนำมาแต่งประโยคได้ มีมารยาทในการพูดและฟัง
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๕
(๘-๑๑ มิ.ย.
๒๕๕๘)
|
หน่วยการเรียนรู้
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
เรื่อง ชาวไร่เบี้ย
หลักภาษาไทย
- คำนาม
- คำสรรพนาม
- คำกริยา
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๖อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่งข้อแนะนำและปฏิบัติตาม
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘ มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๑คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน
และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙
มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา
ค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและการพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้
เข้าใจและ จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน
อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทในการพูดและฟัง
ตระหนักและเห็นความ สำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำไป ใช้ในชีวิตได้
อีกทั้งอ่านและเขียนอักษรนำได้ถูกต้อง รู้จักคำนาม คำสรรพนามและคำกริยา
และสามารถนำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการพูดและฟัง
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๖
(๑๕-๑๘
มิ.ย.๒๕๕๘)
|
หน่วยการเรียนรู้
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
เรื่อง ชาวไร่เบี้ย
หลักภาษาไทย
- คำเป็น คำตาย
- ลักษณะนาม
- คำควบกล้ำ
(แท้และไม่แท้)
- คำประวิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๖อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่ง ข้อแนะนำและปฏิบัติตาม
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘ มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๕/๑
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน
และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙
มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา
ค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๕บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้
เข้าใจและ จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน
อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล รู้สึกซาบซึ้งกับเรื่องที่อ่านมีนิสัยรักการอ่าน ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน
สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้
สามารถอ่านคำที่มักเขียนผิดและเขียนคำที่ถูกต้องได้
สามารถอ่าน เขียนและใช้คำเป็นคำตาย คำควบกล้ำ
(ควบกล้ำแท้และไม่แท้)
คำที่ประวิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์
รวมทั้งการบอกลักษณะนามของคำนามได้ถูกต้องและเหมาะสม มีมารยาทในการอ่าน การฟัง
การพูดการเขียนที่เหมาะสม
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๗
(๒๒-๒๕
มิ.ย.๒๕๕๘)
|
หน่วยการเรียนรู้
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
เรื่อง
กระดานไฟ
หลักภาษาไทย
ละครเนื้อหาความเข้าใจเกี่ยวข้องกับหลักภาษาและวรรณกรรม
(ที่เรียนผ่านมา)
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๖อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่ง
ข้อแนะนำและปฏิบัติตาม
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๕/๑คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผน
ภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ
ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา
ค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๕บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
ป.๕/๔ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
|
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้
เข้าใจและ จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน
อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล รู้สึกซาบซึ้งกับเรื่องที่อ่านมีนิสัยรักการอ่าน
ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้
สามารถอ่านคำที่มักเขียนผิดและเขียนคำที่ถูกต้องได้
สามารถอ่าน เขียนและสามารถถ่ายทอดความเข้าใจผ่านละคร
ฉ่อย กลอน ฯลฯ
มีมารยาทในการอ่าน การฟัง การพูด การเขียนที่เหมาะสม
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๘
(๒๙, ๓๐มิ.ย. ถึง ๑,
๒ ก.ค.๒๕๕๘)
|
หน่วยการเรียนรู้
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
เรื่อง ฟ้าโปรด
หลักภาษาไทย
- คำวิเศษณ์
- คำบุพบท
- คำสันธาน
- คำอุทานฯลฯ
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยคและข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อปรับใช้ในชีวิต
ป.๕/๖อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่งข้อแนะนำและปฏิบัติตาม
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๕/๑คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน
และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙
มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและการพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วน ประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๕บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้
เข้าใจและ จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล
รู้สึกซาบซึ้งกับเรื่องที่อ่านมีนิสัยรักการอ่าน
ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน
สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้ สามารถอ่านคำที่มักเขียนผิดและเขียนคำที่ถูกต้องได้
สามารถอ่าน เขียนและเข้าใจโครงสร้างชองประโยค สามารถจำแนกคำวิเศษณ์
คำบุพบท คำสันทาน และคำอุทานได้มีวิจารณญาณ
มีมารยาทในการอ่าน การฟัง การพูด การเขียนที่เหมาะสม
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท
๒.๑
|
การฟัง
ดู และพูด
ท
๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท
๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๙
(๖-๙ ก.ค.
๒๕๕๘)
|
หน่วยการเรียนรู้
เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
เรื่อง อีกไม่นานเธอจะรู้
หลักภาษาไทย
- การแต่งกลอนแปด
-สุภาษิต
คำพังเพย สำนวนไทย
-คำพ้องรูป
-คำพ้องเสียง
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยคและข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๖อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่ง ข้อแนะนำและปฏิบัติตาม
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘ มีมารยาทใน
การอ่าน
|
ป.๕/๑
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน
และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙ มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่อง
ที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดโต้วาทีเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา
ค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและ
การพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วน ประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๕บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ป.๕/๖แต่งบทร้อยกรอง
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
ป.๕/๔ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
|
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้
เข้าใจและ จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน
อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล มีนิสัยรักการอ่าน
ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน
สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้ สามารถอ่าน เขียน แต่งกลอนแปดและใช้สำนวน
สุภาษิตเปรียบเทียบ อุปมาอุปมัยกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวันได้ รู้จักคำพ้องรูป
คำพ้องเสียง และคำพ้องความ (คำไวพจน์)
สามารถเลือกมาแต่งเป็นประโยคตามความหมายของคำได้อย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน
การฟัง การพูด การเขียนที่เหมาะสม
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑
|
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๑๐
(๑๓-๑๖
ก.ค.
๒๕๕๘)
|
หน่วยการเรียนรู้เรื่องสั้น “ฟ้าบ่กั้น”
เรื่อง อีกไม่นานเธอจะรู้
หลักภาษาไทย
- คำสมาส
- คำสนธิ
-
การใช้สัญลักษณ์/เครื่องหมายวรรคตอนในภาษาไทย
|
ป.๕/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ป.๕/๒อธิบายความหมายของคำประโยค
และข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา
ป.๕/๓อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๕วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ป.๕/๖อ่านงานเขียนเชิงอธิบายคำสั่ง ข้อแนะนำและปฏิบัติตาม
ป.๕/๗อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘ มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๕/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน
และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙
มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและการพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๕บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
ป.๕/๔ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
|
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้
เข้าใจและ จับใจความสำคัญของเรื่องและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน
อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล รู้สึกซาบซึ้งกับเรื่องที่อ่านมีนิสัยรักการอ่าน ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน
สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้ สามารถอ่านและเขียนแต่งเรื่องได้อย่างสร้างสรรค์
จำแนกและเข้าใจหลักการสังเกต/เขียนคำสมาสในภาษาไทย
และสามารถใช้เครื่องหมายวรรคตอนในการเขียนสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม มีมารยาทในการอ่าน
การฟัง การพูด การเขียนที่เหมาะสม
|
สัปดาห์
ว/ด/ป
|
หน่วยการเรียนย่อยและสาระการเรียนรู้
|
การอ่าน
ท.๑.๑
|
การเขียน
ท
๒.๑
|
การฟัง
ดู และพูด
ท
๓.๑
|
หลักการใช้ภาษา
ท๔.๑
|
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท
๕.๑
|
เป้าหมายการเรียนรู้
|
สัปดาห์ที่
๑๑
(๒๐-๒๓
ก.ค. ๒๕๕๘)
|
หน่วยการเรียนรู้
สรุปองค์ความรู้ ภาคเรียนที่ ๑
Quarter
๑/๒๕๕๘
หลักภาษาไทย
- สรุปองค์ความรู้
- การนำเสนอ/การถ่ายทอดความรู้และการนำไปใช้
|
ป.๕/๔แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ป.๕/๗อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๘มีมารยาทในการอ่าน
|
ป.๕/๑คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ป.๕/๒เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน
และเหมาะสม
ป.๕/๓เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
ป.๕/๔เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
ป.๕/๖เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ป.๕/๘เขียนเรื่องตามจินตนาการ
ป.๕/๙มีมารยาทใน
การเขียน
|
ป.๕/๑พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๒ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
จากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๕/๓วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล
ป.๕/๔พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา
ป.๕/๕มีมารยาทในการฟังการดูและการพูด
|
ป.๕/๑ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค
ป.๕/๒จำแนกส่วนประกอบของประโยค
ป.๕/๓เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
ป.๕/๗ใช้สำนวนได้ถูกต้อง
|
ป.๕/๑สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
ป.๕/๒ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง
ป.๕/๓อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
|
นักเรียนสามารถสรุปองค์ความรู้ความเข้าใจ
สามารถจับใจความสำคัญของเนื้อหาที่เรียนรู้ และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน
อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลและสามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ในชีวิต
เพื่อการสื่อสารได้อย่างมีวิจารณญาณ
|